การใช้ っ เล็ก
คือการทำให้เป็นเสียงกักในภาษาญี่ปุ่นจะใช้
เล็กในการประสมคำโดยโดยให้อยู่ระหว่างพยัญชนะ っ เล็กตัวนี้จะไม่ออกเสียง
tsu และเป็นการทำให้พยัญชนะต้นของคำนั้นมีตัวสะกด
กล่าวคือ っ เล็กทำหน้าที่เชื่อมระหว่างพยัญชนะต้นกับตัวสะกดนั้นเอง
ส่วนเสียงตัวสะกดจะเป็นเสียงใดนั้นขึ้นอยู่กับพยัญชนะที่ตามหลังมา ถึงแม้ว่า っ ตัวนี้จะไม่ออกเสียง
แต่ก็มีคำเท่ากับ 1 ช่วงเสียง
ก่อนที่จะออกเสียงพยัญชนะตัวหลังหากไม่เว้นอาจทำให้ความหมายของคำผิดไป
อักษรโรมะจิ >>> อักษรไทย
Ki + Te >> Ki _Te >> Kitte = คิตเตะ
Zu + Shi >> Zu _Shi >> Zusshi = ซุชชิ
Sa + Ka >> Sa _Ka >> Sakka = สัคคะ
Sha + Kai >> Sha _Kai >> Shakkai = ชยัคคะอิ
Chu + Sha >> Chu _Sha >> Chussha =
ชจุชชยะ
KyuuNi + Ku >> Kyuuni _Ku >> Kyuunikku
= คยูนิคคุ
อักษรไทย >>> อักษรโรมะจิ
ฟุคคุ = Fu _Ku >>
Fukku
คิสสุ = Ki _Su >> Kissu
มัตตะคุ = Ma _Taku >> Mattaku
โยชชจิ = Yo _Chi >> Yocchi
ชยุชชโจว = Shu _Chou >> Shucchou
ยัคคยูว = Ya _kyuu >> Yakkyuu
A I
U E O อะ
อิ อุ เอะ
โอะ
ชิ ชจิ
สึ ฟุ = ตัวปะหลาด
Shi chi tsu fu
ซ = Z
ส = S
สึ = Tsu
ซึ = Dzu
ช = Sh
ชจ = Ch
จ = J
*พยามแปลงตัวอักษรเสียงควบ
Romaji >>> ไทยบ่อยๆ
A อะ I อิ U อุ E เอะ O โอะ
อึ
อา อี อู เอ
โอ อือ
|
|
EI
= เอยิ
OU
= โอว
|
ยิ
= I
ว
= U
|
แบบฝึกหัด
(เฉลยด้านล่าง)
1โยะ โรปปา
2Chotto
3โอตโตะ
4Dorobou
5คุระชิคคุ
6Arattameru
7ชโจตโตะ
8Bijyuttsu
9ชจิสสึโยว
10 Omottei
11มัชชิโระ
12 sensei
13 โคชชโจว
14 Syuurishitte
15 เสคเคยิ
16 Sottsukyou
17 เดบบุ
18 Jittomou
19 ฮัปปะ
20 Osokku
21 เคคเคยิ
22 tourokku
23 วัชชจา
24 Gureisu
เฉลย
1Yoroppaa
2 ชโจตโตะ
3 Otto
4 โดะโระโบว
5 Kurashikku
6 อะรัตตะเมะรุ
7 Chotto
8 บิจยุสสึ
9 Chittsuyou
10 โอะโมตเตยิ
11 Masshiro
12 เสนเสยิ
13 Kocchou
14 ชยูริชิตเตะ
15 Sekkei
16 โสสสึคโยว
17 Debbu
18 จิตโตะโมว
19 Happa
20โอะโสคคุ
21 Kekkei
22 โทวโรคคุ
23 Wacchaa
24 กุเรยิสุ